ธ.ค232557

จูเลียส ซีซาร์ (Julius Ceasar)

โดย พลอยไพลิน จันทะวงษ์ จูเลียส ซีซาร์ (Julius Ceasar) หรือชื่อเต็มคือ กายอัส จูเลียส ซีซาร์ (Gaius Julius Ceasar) เป็นรัฐบุรุษที่โด่งดังในประวัติศาสตร์ที่สถาปนาตนขึ้นปกครองกรุงโรมัน และทำให้อาณาจักรมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของคนในทุกวันนี้ อีกทั้งยังเป็นต้นแบบของการใช้ชื่อ “ซีซาร์”...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค222557

โมอาย (Moai) แห่งเกาะอีสเตอร์

โดย อรัญญา  ตันปุระ คงมีหลายคนที่เคยเห็นเจ้ารูปปั้นหินยักษ์ที่มีหน้าตาเหมือนมนุษย์นี้ผ่านทางทีวี รูปภาพ งานเขียน และสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือแม้แต่ในเกมส์ หลายคนคงสงสัยถึงความเป็นมาและอยากจะไปเห็นตัวจริงของเจ้ารูปปั้นหินยักษ์เหล่านี...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค192557

ปอมเปอี (Pompeii) เมืองหายนะแห่งความตาย

โดย ฐิติยา วงศ์ศิริ ปอมเปอี (Pompeii) หลายท่านอาจจะคุ้นหูกับชื่อนี้เพราะเรื่องราวของเมืองมรณะแห่งนี้ได้เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ที่ทำรายได้อย่างมาก เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับหายนะครั้งใหญ่ที่คร่าชีวิตคนทั้งเมืองให้จมหายไปพร้อมกับเศษขี้เถ้าจากภูเขาไฟวิสุเวีย...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค182557

ปิเย (Piye) ฟาโรห์ผิวสี

โดย ภาคภูมิ จิตต์บุญธรรม เมื่อ 747 ปีก่อนคริสตกาล อาณาจักรอียิปต์ที่เคยรุ่งโรจน์กำลังอยู่ในช่วงระส่ำระสายเพราะขุนศึกต่างแย่งชิงเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ อาณาจักรถูกแบ่งออกเป็นรัฐน้อยใหญ่ กษัตริย์ชาวนูเบียพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า ปิเย (Piye) เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้ตัดสินพระทัยทำสงครามกับชาวอียิปต์...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค182557

ชนเผ่าดราวิเดียน

โดย สุพิชชา พันพั่ว เดิมประชากรกลุ่มนี้มีกำเนิดไม่แน่ชัดอาจเกิดจากการผสมปนเปทางเชื้อชาติของชนเผ่ากลุ่มแรกๆ ที่อพยพเข้ามาในอนุทวีปอินเดีย เช่นพวกออสตราลอยด์ พวกเนกริโต ฯลฯ แต่อย่างไรก็ตามเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ชนเผ่ากลุ่มนี้มีบทบาท และอำนาจอยู่ในอนุทวีปอินเดียก่อนหน้าพว...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค142557

สวนลอยแห่งกรุงบาบิโลน (The Hanging Garden of Babylon)

โดย วณัฐชญา  ประทุมนันท์ ย้อนกลับไปเมื่อราว 600 ปีก่อนคริสตกาล บนผืนแผ่นดินที่ราบลุ่มริมแม่น้ำไทกริสและยูเฟรติสอันเป็นจุดเริ่มต้นแหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลกอย่างอารยธรรมเมโสโปเตเมีย  ได้ปรากฏสิ่งก่อสร้างปริศนาซึ่งมีความสูงเทียบเท่าภูเขาขนาดหย่อมๆ  เร้นกายอยู่ภายใต้แสงอาทิตย์อันเจิดจ้าบนมหานครซึ่งถูกกล่าวขานเป็นตำนานจากปากของนักเดินทางและพ่อค้าวาณิชทั่วทุกดินแดน...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค142557

เจงกีสข่าน

โดย ทรงวุฒิ รัตนโยธิน เมื่อพูดถึง “เจงกิส ข่าน” หรือ “เตมูจิน” แล้วนั้นหลายคนอาจจะคุ้นหูมาบ้างแล้วไม่ว่าจะตาม โทรทัศน์สื่อ ต่างๆ หรือ แม้กระทั่งตำราประวัติศาสตร์ต่างๆ “เจงกิส ข่าน” นั้นเป็นจักรพรรดิชาวมองโกลที่ยิ่งใหญ่มาก และเป็นผู้ที่ก่อตั้งจักรวรรดิที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลที่สุดในประวัติศาสตร์โลกเลยทีเดียว...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค142557

กระดาษปาปิรุส (Papyrus)

โดย สุภาพรรณ มุงคุณ ประวัติศาสตร์จะเกิดได้มีก็ต่อเมื่อมีการบันทึกเรื่องราวเป็นรายลักษณ์อักษรลงบนวัสดุที่คงทนและสามารถทนอยู่มาได้จนชนรุ่นหลังได้ค้นพบและนำมาเป็นหลักฐานการมีอยู่ของเรื่องราวในสมัยนั้น...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค142557

พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช (Alexander the Great)

โดย พิรามน ฮามพิทักษ์ มหาบุรุษและนายทัพผู้ไม่เคยปราชัยใครในสงคราม กษัตริย์แห่ง Macedonia และผู้มีชัยเหนือดินแดนเปอร์เซีย พระนามนั้นคือ กษัตริย์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 มหาราช พระองค์ถูกจัดว่าเป็นนายทัพผู้ชาญฉลาดหนึ่งใน เจ็ดคนที่มีชื่อเสียงที่สุดของโลก ( อีก 6 คนคือ Hannibal, Julius...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค122557

เทพเจ้ากรีกและโรมัน

โดย ชลีณา   พิมพาศรี หากกล่าวถึงตำนานเทพเจ้า หลายคนคงนึกถึงตำนานเทพเจ้าของกรีกและโรมัน ซึ่งทั้งกรีกและโรมัมมีความเชื่อเหมือนกันในเรื่องนี้ โดยตำนานเทพเจ้าของโรมันจะแตกต่างจากกรีกเพียงแค่ชื่อเท่านั้น ตำนานและเรื่องราวต่างๆ ของเทพเจ้านั้นยังมีที่มาไม่แน่ชัด ซึ่งได้มีข้อสมมติฐานต่างๆ...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค122557

เพอร์ซีอุส (Perseus) วีรบุรุษผู้ปราบเมดูซา

โดย สุวภัทร ดวงคมทา มีตำนานเกี่ยวกับเรื่องราวของกรีกโบราณหลากหลายเรื่องที่น่าสนใจ แต่เรื่องที่ได้รับความสนใจจากชาวกรีกอย่างถึงที่สุดและเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางนอกเหนือจากเรื่องราวของ เฮอร์คิวลิส แล้วก็เห็นจะเป็น เพอร์ซีอุส วีรบุรุษผู้สังหารเมดูซา ซึ่งเรื่องราวของเขานั...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค122557

ชนชั้นในอียิปต์

โดย นิตยา แก้วพล       ในสังคมเกือบจะทุกสังคมมีการแบ่งชนชั้นทางสังคมทั้งสิ้น ซึ่งการแบ่งชนชั้นนั้นมีมานานกว่า 5000 ปีทีเดียว อย่างในสมัยอียิปต์โบราณ ก็มีการแบ่งผู้คนในสังคมเป็นชนชั้นต่างๆ อย่างชัดเจน และแต่ละชนชั้นนั้นก็มีบทบาทหน้าที่ทางสังคมแตกต่างกันออกไ...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค122557

ผลงานชิ้นสำคัญของ ไมเคิลแองเจโล (Michelangelo)

โดย เฉลิมศักดิ์ สีดา ศิลปินระดับโลกต่างฝากผลงานผ่านชิ้นงานศิลปะของพวกเขา ไม่ว่าจะเป็น ภาพเขียน ภาพวาด งานประติมากรรม งานออกแบบ ซึ่งผลงานเหล่านี้ต่างสะท้อนให้เห็นลักษณะพิเศษเฉพาะตัวของศิลปินผู้นั้นเอง นอกจากจะแสดงลักษณะเฉพาะตัวแล้ว ผลงานศิลปะต่างๆยังสะท้อนแนวความคิด ความเชื่อ...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค122557

ชนชาติสุเมเรียน

โดย สุวนันท์ พงษ์ขาวน้อย     หากจะกล่าวถึงแหล่งอารยธรรมโบราณที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และเก่าแก่ที่สุด ผู้คนส่วนใหญ่คงจะนึกถึง  อารยธรรมเมโสโปเตเมีย  ที่นักประวัติศาสตร์ต่างเชื่อว่า   เป็นแหล่งอารยธรรมโบราณแห่งแรกของโลก   แต่แหล่งอารยธรรมจะเกิดขึ้นได้นั้น...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค112557

เฮียโรกลิฟฟิก (Hieroglyphics)

โดย ชลิตา สุทธิธรรม อักขระโบราณที่ประกอบด้วยรูปภาพเล็กใหญ่หลากสีสันต่างๆ ถูกเขียนเรียงร้อยไว้บนผนังตามสุสานและวิหารของอียิปต์โบราณมากว่า 5000 ปี พวกเราต่างก็ทราบดีว่าภาพวาดเหล่านั้นคืออักษรภาพที่จารึกเรื่องราวอันลี้ลับต่างๆ ของอารยธรรมอียิปต์โบราณ ที่เรียกกันว่า อักษรเฮียโรกลิฟฟิก...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค112557

มหาพีระมิด (The Great Pyramid)

โดย กิตติญา จิตระบอบ ท่ามกลางทะเลทรายกว้างอันใหญ่แห่งกีซ่า มหาพีระมิดที่ยิ่งใหญ่สามองค์ตั้งตระหง่านอยู่เหนือพื้นทรายห่างจากกรุงไคโรนครหลวงของประเทศอียิปต์ออกไปประมาณ 8 กม. รายล้อมไปด้วยพีระมิดและสุสานอื่นๆอีกมากมาย เมืองกีซ่าตั้งอยู่ปลายสันดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยใช้เป็นเครื่องกำหนดเขตแดนของอาณาจักรอียิปต์บนและล่าง...
อ่านเพิ่มเติม »
ธ.ค82557

ซูสีไทเฮา (Empress Dowager Cixi)

โดย เกษตร อัคพิน เมื่อเอ่ยถึงประเทศจีนในสมัยโบราณหลายๆ คนคงนึกถึงความยิ่งใหญ่ของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานรวมทั้งวัฒนธรรมที่แน่นแฟ้น และเมื่อกล่าวถึงการปกครองในระบอบศักดินาของประเทศจีนหลายคนก็คงจะนึกถึงการว่าราชการหลังม่านไม้ไผ่และซูสีไทเฮาผู้ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการและผู้ว่าราชการหลังม่านไม้ไผ่หลายรัชสมัย...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ย172557

เทคนิคการก่อสร้างมหาพีระมิดแห่งอียิปต์

โดย ภนิตา คูณทวีลาภผล พีระมิดแห่งอียิปต์หนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ของโลกซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่ยากจะให้เหตุผลในการก่อสร้าง และยากที่จะอธิบายถึงวิธีการสร้างพีระมิดเหล่านี้ขึ้นมา  เนื่องด้วยในยุคสมัยนั้นๆไม่มีวิทยาการทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยเหมือนในปัจจุบัน  เป็นที่กังขาของคนทั่วไป...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ย172557

การทำมัมมี่ของชาวอียิปต์โบราณ

โดย ญาณิชศา   ประสพผล ดังเช่นกับที่หลายท่านทราบอยู่ก่อนหน้านี้แล้วว่ามัมมี่นั้น เกิดขึ้นจากความเชื่อในเรื่องชีวิตหลังความตายของชาวอียิปต์โบราณ โดยเชื่อกันว่าคนเรานั้นจะสามารถฟื้นจากความตายแล้วกลับเข้ามาที่ร่างไร้วิญญาณของตนเองได้อีกครั้ง จึงทำให้เกิดการถนอมรักษาร่างนั้นๆไว้ให้คงอยู่ในสภาพเดิมให้ได้นานที่สุด...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ย162557

บูเช็คเทียน หงส์เหนือมังกร

โดย วรวุฒิ พวงในเมือง เป็นเวลายาวนานนับหลายพันปีแล้ว ที่อารยธรรมแห่งลุ่มแม่น้ำฮวงโหเจริญรุ่งเรืองกำเนิดเป็นมหาอาณาจักรแห่งโลกตะวันออกหรือก็คือ จักรวรรดิจีน  ซึ่งมีพระจักรพรรดิหรือองค์ฮ่องเต้เป็นประมุขและมีจักรพรรดินีหรือฮองเฮาเป็นแม่เมือง วัฒนธรรมจีนโบราณนั้นให้ความสำคัญกับบุรุษเพศมากกว่าสตรีเสมอซึ่งถือว่าบุรุษเป็นช้างเท้าหน้าและปกครองผู้คนในบ้านส่วนภรรยามีหน้าที่ต้องปรนนิบัติและเลี้ยงดูอบรมลูกเท่านั้นไม่มีสิทธิ์มีเสียงมากนัก...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ย152557

เหตุการณ์สังเวยครั้งใหญ่ในอาณาจักรแอชเทค (Aztec)

โดย จิราภรณ์ พิริยะเสมวงษ์ หากจะกล่าวถึงอาณาจักรต่างๆในยุคโบราณที่อยู่ในทวีปอเมริกา ดินแดนที่กำเนิดของอารยธรรมที่เคยเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดแห่งหนึ่งของโลก บางท่านอาจจะพอทราบได้ว่าอาณาจักรที่โด่งดังในสมัยนั้นก็จะได้แก่  อาณาจักรมายา (Maya) อินคา (Inca) และอีกหนึ่งแห่งที่ถือกำเนิดขึ้นมาในระยะเวลาต่อมา...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ย152557

มาชูปิกชู (Machu Picchu) ดินแดนที่หายไปของชาวอินคา

โดย กชมน ศรีนรคุตร หากจะพูดถึงทวีปอเมริกาใต้ ก็คงจะเป็น 1 ในดินแดนที่ไกลตัวคนไทยเป็นอย่างมาก เพราะนอกเหนือจากระยะทางที่ห่างไกลกันสุดขอบโลกแล้ว ก็ยังเป็นดินแดนที่ค่อนข้างลึกลับ เฉกเช่นเดียวกับ มาชูปิกชู เมืองโบราณ ณ ประเทศเปรู 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ย132557

อักษรรูปลิ่ม (cuneiform)

โดย วิริยา มาศวรรณา แต่ละชาติต่างก็มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน และแต่ละภาษาก็ล้วนแล้วแต่มีที่มาที่หลากหลาย เชื่อว่าหลายคนอาจไม่ทราบว่าอักษรรุ่นแรกๆ ที่มนุษย์ได้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาคืออักษรอะไรและใครที่เป็นผู้คิดค้นอักขระเหล่านี้ หนึ่งในตัวอักษรแรกเริ่มของโลกก็คือ...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ย122557

ปริศนาแห่งสโตนเฮนจ์ (Stonehenge)

โดย อัครชัย พลภูงา เมื่อกล่าวถึงหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก ไม่มีใครไม่รู้จัก “สโตนเฮนจ์” ซึ่งมีชื่อเสียงอย่างมากในฐานะที่เป็นกลุ่มหินแปลกประหลาดที่ไม่มีนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีคนใดทราบวัตถุประสงค์ในการสร้างอย่างชัดเจน และยังคงเป็นหนึ่งในปริศนาอันยิ่งใหญ่ชิ้นหนี่งท...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ย42557

เครื่องเรือนสมัยกรีก (Ancient Greek furnitures)

โดย นิธิศ พัวตะนะ กรีกเป็นอารยธรรมที่มีพัฒนาการที่น่าทึ่งในหลายๆ ด้าน รวมถึงเครื่องเรือนอันเป็นรากฐานของสิ่งที่ใช้สอยกันอยู่ในปัจจุบันนี้ แม้ไม่ได้สร้างด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงเหมือนอย่างเครื่องเรือนในปัจจุบัน เครื่องเรือนในสมัยกรีกก็สะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาในด้านประโยชน์ใช้สอยของผู้คนในยุคนั้นได้เป็นอย่างดี เครื่องเรือนสมัยกรีกทำจากไม้เป็นหลัก...
อ่านเพิ่มเติม »
เม.202557

รูปสลักเดวิด (Statue of David)

โดย จิราพร อาสาสู้ รูปสลักเดวิด เป็นประติมากรรมหินอ่อน ที่มีลักษณะเป็นชายเปลือยกาย เพื่อที่แสดงถึงความแข็งแรงและความงดงามของร่างกายมนุษย์  หรือเปรียบเสมือนตัวแทนของความงามและพละกำลั...
อ่านเพิ่มเติม »
เม.202557

ฟรานเชสโก เปตรากา (Francesco Petrarca)

โดย นางสาวจันทิมา  แซ่เอียะ ฟรานเชสโก เปตรากา (Francesco Petrarca; 20 กรกฎาคมค.ศ. 1304 - 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1374) หรือที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่าเปตรากเป็นกวีและนักวิชาการชาวอิตาลีหนึ่งในบรรดานักวิชาการในช่วงแรกๆ ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเขาเป็นที่รู้จักยกย่องในฐานะ "บิดาแห่งมนุษยนิยม"จากงานของเปตรากและส่วนประกอบอื่นๆ...
อ่านเพิ่มเติม »
เม.202557

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler)

โดย จักริน โค้วประดิษฐ์ ฮิตเลอร์เป็นทหารผ่านศึกสงครามโลกครั้งที่หนึ่งผู้ได้รับการประดับอิสริยาภรณ์จากการรบ และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ยังเป็นนักการเมืองเยอรมนีสัญชาติออสเตรียโดยกำเนิด หัวหน้าพรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี...
อ่านเพิ่มเติม »
เม.202557

ศิลปะนีโอคลาสสิก (Neo-Classic Art)

โดย พิษณุ แก้วอัคฮาด ในอารยธรรมยุคสมัยใหม่นั้น  เป็นยุคที่มีการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ทำให้เกิดศิลปะสมัยใหม่ขึ้นมาหลายแบบ แต่ละแบบก็มีลักษณะเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันออกไป  โดยเฉพาะศิลปะแบบ นีโอคลาสสิก ที่อยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างสมัยใหม่ กับสมัยเก่...
อ่านเพิ่มเติม »
เม.202557

คริสตศาสนานิกายโปรเตสแตนท์ (Protestant)

โดย วราภร นาใจคง นิกายโปรเตสแตนท์ (Protestant) มีกำเนิดมาจากความคิดเห็นที่แตกแยกกันในเรื่องความเชื่อและการใช้ชีวิตของคริสตชนจากพระศาสนจักรคาทอลิ...
อ่านเพิ่มเติม »
เม.202557

มหาวิหารเซนต์พอล (St. Paul's Cathedral)

โดย หนันยา หาพันธุ์ มหาวิหารเซนต์พอล St Paul's Cathedral เป็นคริสต์ศาสนสถานระดับมหาวิหารของนิกายอังกลิคันที่ตั้งอยู่ในกรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักร และเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งบิชอปแห่งลอนดอน สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแก่นักบุญเปาโลอัครทูต มหาวิหารที่เห็นในปัจจุบันสร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่...
อ่านเพิ่มเติม »
เม.202557

ศิลปะแบบโพสต์ – อิมเพรสชันมิสม์ (Post-Impressionism)

โดย ณัฐวรรธน์ ชีพประสานสุข ถ้าเอ่ยถึงแวนโก๊ะแล้ว เราคงจะนึกภาพออกทันทีว่า ศิลปะแบบโพสต์ อิมเพรสชั่นนิสม์ มีหน้าตาเป็นอย่างไร ลักษณะของงานจะมุ่งไปที่การแสดงออกทางความรู้สึก  อารมณ์  และจิตวิญญาณมากกว่ามุ่งนำเสนอความเป็นจริงทางวัตถุ  สื่อผ่านการใช้สีที่รุนแรงและเกินความเป็นจริง...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

มงแต็สกีเยอ (Montesquieu)

โดย ณัฐรณ ชาวบ้านตาด หากจะกล่าวถึงอำนาจสูงสุดซึ่งเป็นหลักสากลที่ใช้ในการปกครองรัฐอำนาจนั้นคือ   อำนาจอธิปไตย อันหมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ โดยอำนาจอธิปไตยนั้นย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง โดยหลักสากล รัฐจะมีองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยอยู่ 3 องค์กร ได้แก่...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)

โดย ชยางกูร วรรักษา อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ชาวเยอรมันเชื้อสายยิวที่มีสัญชาติสวิสและอเมริกัน (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

โธมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson)

โดย ภัทรนิศวร์ จันทราธนสิทธิ์ โธมัส เจฟเฟอร์สัน  เป็นประธานาธิบดีคนที่ 3 ของอเมริกา และเป็นประธานาธิบดีที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คนหนึ่ง ในฐานะประธานาธิบดี เจฟเฟอร์สันทำให้อำนาจของรัฐบาลเข้มแข็ง เป็นประธานาธิบดีคนแรกที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมือง และใช้อำนาจผ่านพรรคการเมืองในการคว...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

ศิลปะแบบรอคโคโค (Rococo)

โดย ปิยาภรณ์ เหล่าเกียรติชัย ศิลปะแบบรอคโคโคพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 แบบของโรโคโคจะเป็นเอกภาพคือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องประดับจะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกันคือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมาภายในห้องจะมีเฟอร์นิเจอร์ที่หรูหราและอลังการ...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

ชนชั้นในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิค

โดย ชวพล จึงสมาน ในยุคที่ศาสนจักรมีบทบาทอย่างมาก ทั้งในเรื่องอิทธิพลต่อจิตใจคน การเมือง การปกครอง หรือแม้กระทั่งเศรษกิจ ซึ่งศาสนจักรนั้นหมายถึงศาสนาคริสต์ โดยในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิคมีการแบ่งชนชั้นการปกครองดังนี...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

เอ็กซเพรสชันนิสม์ (Expressionism)

โดย ชวพล จึงสมาน ในยุคสมัยใหม่มีลัทธิทางศิลปะเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งลัทธิต่างๆอาจจะเกิดจากวิถีชีวิตของคนในสังคม การเมือง อารมณ์ต่าง โดยมีหลายลัทธิที่เป็นลัทธิที่แสดงออกถึงสภาพความจริงของสังคม หนึ่งในลัทธิที่มีอิทธิพลต่อคนในสังคม คือ เอ็กซเพรสชันนิสม์ (Expressionism...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

มหาวิทยาลัยในยุคกลาง

โดย นัฐฐิกรณ์ พันธุ์ยุรา การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยของสมัยกลางในช่วงต้นนั้น มุ่งเน้นไปที่การศึกษาทางด้านเทววิทยา โดยใช้โบสถ์ของศาสนาคริสต์เป็นสถานศึกษา ต่อมามีการจัดตั้งสถานศึกษาที่แยกออกจากโบสถ์ขึ้นในอิตาลี เพื่อเพิ่มพูนวิชาความรู้ให้แก่ผู้ที่เตรียมตัวเป็นพระให้สูงยิ่งขึ้น ซึ่งต่อมาได้วิวัฒนาการกลายเป็นมหาวิทยาลัย...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

พระแม่มารีแห่งภูผา (Virgin of the Rocks)

โดย นัฐฐิกรณ์ พันธุ์ยุรา ในยุคกลาง ศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์โดยเฉพาะ ทำให้ศิลปิน ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการออกมาอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการนั้น ศิลปินนิยมใช้รูปแบบงานศิลปะของทางกรีก-โรมันซึ่งมีความเป็นธรรมชาติ...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

ลัทธิปัจเจกนิยม (Individualism)

โดย พรเพ็ญ กงศรี ลัทธิปัจเจกนิยมเป็นลัทธิทางสังคมที่เกิดขึ้นในยุคกลาง ลัทธิปัจเจกนิยมจะเชื่อมั่นในศักยภาพของความเป็นมนุษย์ที่อยู่เหนือโชคชะตาและยังเคารพเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเอ...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

วิทยาการการพิมพ์ ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

โดย วิภารัตน์ มนัสสา ถ้าจะกล่าวถึงการพิมพ์ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมากของมนุษย์ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันถือได้ว่าเป็นอีกปัจจัยที่ทำให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้สิ่งต่างได้มากขึ้น รู้หนังสือมากขึ้น การพิมพ์ได้มีมาตั้งแต่ในสมัยอารยธรรมโบราณ ได้รู้จักการใช้ของแข็งกดลงบนดินทำให้เกิดลวดลายตัวอักษร...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)

โดย ภาวิณี ยะลาเร้    ลีโอนาโด ดาร์วินซี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี เขามีความคิดว่าการวาดภาพนั้นไม่ควรแสดงเพียงความเหมือนต้นแบบ แต่ควรแสดงอารมณ์ และความรู้สึกลึกๆ ในจิตใจของผู้ถูกวาดด้วย เขาจึงคิดว่า การวาดภาพอวัยวะที่เห็นจากภายนอกมันยังไม่พอ ยังต้องมีความร...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

องค์การการค้าโลก หรือ WTO (World Trade Organization)

โดย ธนกฤฒย์ บุญอนันต์ องค์การการค้าโลก หรือที่เรียกๆกันในระดับสากลว่า WTO (World Trade Organization) องค์การนี้เป็นองค์การนี่สังกัดขึ้นตรงกับองค์การสหประชาชาติหรือ U...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

กระบวนการของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

โดย วิชุดา พรพยุหะ กระบวนการของการฟื้นฟูศิลปวิทยการนั้นเริ่มต้นด้วยความสนใจ ตื่นตัวที่จะศึกษาภาษาโบราณต่างๆ ได้แก่ กรีก ละติน และฮิบรู บรรดาพวกนักมนุษยศาสตร์ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนยุโรปหันมาสนใจภาษาโบราณแล้วยังกระตุ้นให้พวกเขาได้สนใจในภาษาท้องถิ่นของตัวเองด้วย มีการคิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ชนิดแท่นเคลื่อนที่ได้...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

ภาพจิตรกรรมบนผนังและเพดานที่ วิหารซิสติน (The Sistine Chapel)

โดย พิณยดา  ทองรักษ์ โบสถ์น้อยซิสทีน เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ...
อ่านเพิ่มเติม »