หากจะกล่าวถึงอำนาจสูงสุดซึ่งเป็นหลักสากลที่ใช้ในการปกครองรัฐอำนาจนั้นคือ อำนาจอธิปไตย อันหมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ โดยอำนาจอธิปไตยนั้นย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง โดยหลักสากล รัฐจะมีองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยอยู่ 3 องค์กร ได้แก่ อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ และ อำนาจตุลาการ ทั้งนี้ อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ และผู้ซึ่งให้กำเนิดแนวคิดนี้ก็คือ มงแต็สกีเยอ
เว็บบล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 418110 World Civilization (อารยธรรมโลก) สาขาวิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อมูลในที่นี้มุ่งเน้นเพื่อให้สาระความรู้และความบันเทิง ไม่ใช่งานเขียนเชิงวิชาการและไม่เหมาะสำหรับการนำไปอ้างอิงต่อ
มงแต็สกีเยอ (Montesquieu)
PW Choun | 23:20 |
การปกครองและกฏหมาย
|
นักปรัชญาตะวันตก
|
บุคคลสำคัญ
|
สมัยใหม่
Be the first to comment!
หากจะกล่าวถึงอำนาจสูงสุดซึ่งเป็นหลักสากลที่ใช้ในการปกครองรัฐอำนาจนั้นคือ อำนาจอธิปไตย อันหมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ โดยอำนาจอธิปไตยนั้นย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง โดยหลักสากล รัฐจะมีองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยอยู่ 3 องค์กร ได้แก่ อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ และ อำนาจตุลาการ ทั้งนี้ อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ และผู้ซึ่งให้กำเนิดแนวคิดนี้ก็คือ มงแต็สกีเยอ
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)
PW Choun | 23:19 |
นักปรัชญาตะวันตก
|
นักวิทยาศาสตร์โลก
|
บุคคลสำคัญ
|
สมัยใหม่
Be the first to comment!
โดย ชยางกูร วรรักษา
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ชาวเยอรมันเชื้อสายยิวที่มีสัญชาติสวิสและอเมริกัน (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2464 จากการอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก และจาก "การทำประโยชน์แก่ฟิสิกส์ทฤษฎี"
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ชาวเยอรมันเชื้อสายยิวที่มีสัญชาติสวิสและอเมริกัน (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2464 จากการอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก และจาก "การทำประโยชน์แก่ฟิสิกส์ทฤษฎี"
ศิลปะแบบรอคโคโค (Rococo)
โดย ปิยาภรณ์ เหล่าเกียรติชัย
ศิลปะแบบรอคโคโคพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 แบบของโรโคโคจะเป็นเอกภาพคือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องประดับจะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกันคือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมาภายในห้องจะมีเฟอร์นิเจอร์ที่หรูหราและอลังการ รูปปั้นเล็กๆแบบประดิดประดอยภาพเขียนหรือกระจกก็จะเป็นกรอบลวดลาย และพรมแขวนผนังที่ถ้าแยกอะไรออกมาก็จะทำให้ห้องนั้นไม่สมบูรณ์แบบ ศิลปะโรโคโคมาแทนด้วยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก ซึ่งประวัติความเป็นมาสามารถสรุปได้ ดังนี้
ศิลปะแบบรอคโคโคพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 แบบของโรโคโคจะเป็นเอกภาพคือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องประดับจะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกันคือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมาภายในห้องจะมีเฟอร์นิเจอร์ที่หรูหราและอลังการ รูปปั้นเล็กๆแบบประดิดประดอยภาพเขียนหรือกระจกก็จะเป็นกรอบลวดลาย และพรมแขวนผนังที่ถ้าแยกอะไรออกมาก็จะทำให้ห้องนั้นไม่สมบูรณ์แบบ ศิลปะโรโคโคมาแทนด้วยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก ซึ่งประวัติความเป็นมาสามารถสรุปได้ ดังนี้
มหาวิทยาลัยในยุคกลาง
PW Choun | 19:11 |
การศึกษา
|
การศึกษาในยุคกลางของยุโรป
|
สมัยกลาง
|
สมัยกลางยุโรป
Be the first to comment!
โดย นัฐฐิกรณ์ พันธุ์ยุรา
การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยของสมัยกลางในช่วงต้นนั้น มุ่งเน้นไปที่การศึกษาทางด้านเทววิทยา โดยใช้โบสถ์ของศาสนาคริสต์เป็นสถานศึกษา ต่อมามีการจัดตั้งสถานศึกษาที่แยกออกจากโบสถ์ขึ้นในอิตาลี เพื่อเพิ่มพูนวิชาความรู้ให้แก่ผู้ที่เตรียมตัวเป็นพระให้สูงยิ่งขึ้น ซึ่งต่อมาได้วิวัฒนาการกลายเป็นมหาวิทยาลัย
การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยของสมัยกลางในช่วงต้นนั้น มุ่งเน้นไปที่การศึกษาทางด้านเทววิทยา โดยใช้โบสถ์ของศาสนาคริสต์เป็นสถานศึกษา ต่อมามีการจัดตั้งสถานศึกษาที่แยกออกจากโบสถ์ขึ้นในอิตาลี เพื่อเพิ่มพูนวิชาความรู้ให้แก่ผู้ที่เตรียมตัวเป็นพระให้สูงยิ่งขึ้น ซึ่งต่อมาได้วิวัฒนาการกลายเป็นมหาวิทยาลัย
พระแม่มารีแห่งภูผา (Virgin of the Rocks)
PW Choun | 18:58 |
ศิลปกรรมสมัยฟื้นฟูฯ
|
ศิลปะตะวันตก
|
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
Be the first to comment!
โดย นัฐฐิกรณ์ พันธุ์ยุรา
ในยุคกลาง ศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์โดยเฉพาะ ทำให้ศิลปิน ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการออกมาอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการนั้น ศิลปินนิยมใช้รูปแบบงานศิลปะของทางกรีก-โรมันซึ่งมีความเป็นธรรมชาติ และความสวยงามในร่างกายของมนุษย์ มิติของภาพ สีสัน และแสงเงาในงานประติมากรรมล้วนทำให้มีความสมจริง
ในยุคกลาง ศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์โดยเฉพาะ ทำให้ศิลปิน ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการออกมาอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการนั้น ศิลปินนิยมใช้รูปแบบงานศิลปะของทางกรีก-โรมันซึ่งมีความเป็นธรรมชาติ และความสวยงามในร่างกายของมนุษย์ มิติของภาพ สีสัน และแสงเงาในงานประติมากรรมล้วนทำให้มีความสมจริง
วิทยาการการพิมพ์ ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
PW Choun | 12:15 |
วรรณกรรมสมัยฟื้นฟูฯ
|
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
|
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
Be the first to comment!
โดย วิภารัตน์ มนัสสา
ถ้าจะกล่าวถึงการพิมพ์ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมากของมนุษย์ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันถือได้ว่าเป็นอีกปัจจัยที่ทำให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้สิ่งต่างได้มากขึ้น รู้หนังสือมากขึ้น การพิมพ์ได้มีมาตั้งแต่ในสมัยอารยธรรมโบราณ ได้รู้จักการใช้ของแข็งกดลงบนดินทำให้เกิดลวดลายตัวอักษร เรียกว่าอักษรลิ่ม ต่อมาได้มีการพัฒนามาเรื่อย และมีชาวจีนได้คิดวิธีทำกระดาษขึ้นมาได้ และได้กลายเป็นวัสดุสำคัญเท่ากับการเขียนและพิมพ์
ถ้าจะกล่าวถึงการพิมพ์ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมากของมนุษย์ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันถือได้ว่าเป็นอีกปัจจัยที่ทำให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้สิ่งต่างได้มากขึ้น รู้หนังสือมากขึ้น การพิมพ์ได้มีมาตั้งแต่ในสมัยอารยธรรมโบราณ ได้รู้จักการใช้ของแข็งกดลงบนดินทำให้เกิดลวดลายตัวอักษร เรียกว่าอักษรลิ่ม ต่อมาได้มีการพัฒนามาเรื่อย และมีชาวจีนได้คิดวิธีทำกระดาษขึ้นมาได้ และได้กลายเป็นวัสดุสำคัญเท่ากับการเขียนและพิมพ์
กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
PW Choun | 20:57 |
การศึกษา
|
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
|
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
Be the first to comment!
โดย ภาวิณี ยะลาเร้
ลีโอนาโด ดาร์วินซี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี เขามีความคิดว่าการวาดภาพนั้นไม่ควรแสดงเพียงความเหมือนต้นแบบ แต่ควรแสดงอารมณ์ และความรู้สึกลึกๆ ในจิตใจของผู้ถูกวาดด้วย เขาจึงคิดว่า การวาดภาพอวัยวะที่เห็นจากภายนอกมันยังไม่พอ ยังต้องมีความรู้ถึงการทำงานของมันด้วยจึงทำให้ต้องผ่าชำแหละเพื่อดูเนื้อข้างในอย่างละเอียด
ลีโอนาโด ดาร์วินซี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี เขามีความคิดว่าการวาดภาพนั้นไม่ควรแสดงเพียงความเหมือนต้นแบบ แต่ควรแสดงอารมณ์ และความรู้สึกลึกๆ ในจิตใจของผู้ถูกวาดด้วย เขาจึงคิดว่า การวาดภาพอวัยวะที่เห็นจากภายนอกมันยังไม่พอ ยังต้องมีความรู้ถึงการทำงานของมันด้วยจึงทำให้ต้องผ่าชำแหละเพื่อดูเนื้อข้างในอย่างละเอียด
กระบวนการของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
PW Choun | 17:46 |
วรรณกรรมสมัยฟื้นฟูฯ
|
ศิลปะตะวันตก
|
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
Be the first to comment!
โดย วิชุดา พรพยุหะ
กระบวนการของการฟื้นฟูศิลปวิทยการนั้นเริ่มต้นด้วยความสนใจ ตื่นตัวที่จะศึกษาภาษาโบราณต่างๆ ได้แก่ กรีก ละติน และฮิบรู บรรดาพวกนักมนุษยศาสตร์ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนยุโรปหันมาสนใจภาษาโบราณแล้วยังกระตุ้นให้พวกเขาได้สนใจในภาษาท้องถิ่นของตัวเองด้วย มีการคิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ชนิดแท่นเคลื่อนที่ได้ (movable type) โดยนักคิดชาวเยอรมันชื่อ โยฮัน กูเตนเบอร์ก เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ พิมพ์ได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทำให้ความรู้ทางศิลปะวิทยาการต่างๆเผยแพร่ออกไปได้อย่างรวดเร็ว
กระบวนการของการฟื้นฟูศิลปวิทยการนั้นเริ่มต้นด้วยความสนใจ ตื่นตัวที่จะศึกษาภาษาโบราณต่างๆ ได้แก่ กรีก ละติน และฮิบรู บรรดาพวกนักมนุษยศาสตร์ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนยุโรปหันมาสนใจภาษาโบราณแล้วยังกระตุ้นให้พวกเขาได้สนใจในภาษาท้องถิ่นของตัวเองด้วย มีการคิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ชนิดแท่นเคลื่อนที่ได้ (movable type) โดยนักคิดชาวเยอรมันชื่อ โยฮัน กูเตนเบอร์ก เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ พิมพ์ได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทำให้ความรู้ทางศิลปะวิทยาการต่างๆเผยแพร่ออกไปได้อย่างรวดเร็ว
ภาพจิตรกรรมบนผนังและเพดานที่ วิหารซิสติน (The Sistine Chapel)
PW Choun | 17:35 |
ศิลปกรรมสมัยฟื้นฟูฯ
|
ศิลปะตะวันตก
|
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
Be the first to comment!
โดย พิณยดา ทองรักษ์
โบสถ์น้อยซิสทีน เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทำการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม่
โบสถ์น้อยซิสทีน เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทำการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม่
พระราชวังแวร์ซายน์ (Château de Versailles)
PW Choun | 16:12 |
บารอก-รอกโคโค
|
ศิลปกรรมสมัยใหม่
|
ศิลปะตะวันตก
|
สถาปัตยกรรมสมัยใหม่
Be the first to comment!
โดย ณัฐนิชา หลิมบุญงาม
เมื่อกล่าวถึงสิ่งก่อสร้างที่หรูหรา และงดงาม หลายคนคงนึกถึง พระราชวังแวร์ซายส์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยที่สุดก็ว่าได้ ด้วยความที่เป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความเป็นเอกลักษณ์ แสดงถึงศิลปะในยุคที่ก่อสร้างขึ้นได้อย่างชัดเจน จึงมีความงดงามที่ทำให้ผู้เยี่ยมชม มีความตราตึงใจในสถานที่แห่งนี้และพระราชวังแวร์ซายส์ยังเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกปัจจุบันอีกด้วย
เมื่อกล่าวถึงสิ่งก่อสร้างที่หรูหรา และงดงาม หลายคนคงนึกถึง พระราชวังแวร์ซายส์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยที่สุดก็ว่าได้ ด้วยความที่เป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความเป็นเอกลักษณ์ แสดงถึงศิลปะในยุคที่ก่อสร้างขึ้นได้อย่างชัดเจน จึงมีความงดงามที่ทำให้ผู้เยี่ยมชม มีความตราตึงใจในสถานที่แห่งนี้และพระราชวังแวร์ซายส์ยังเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกปัจจุบันอีกด้วย
สงคราม 30 ปี (Thirty years war)
โดย สุรเกียรติ เสริมศิริกาญจนา
สงคราม สามสิบปี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างฝ่ายที่นิยมจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งนับถือ ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกกับฝ่ายที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ ซึ่งสงครามครั้งนี้แบ่งเป็น 4 ช่วงและแต่ละช่วงมีความหมายของสงครามต่างกันออกไป กล่าวคือ ในช่วงแรกของสงคราม เป็นเรื่องความขัดแย้งทางศาสนาระหว่างรัฐต่างๆในเยอรมันอย่างชัดเจน แต่ทว่าช่วงที่ 2 3 และ 4 ของสงครามกลายเป็นเรื่องระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ 4 ฝรั่งเศสที่เป็นนับถือนิกายโรมันคาทอลิกเข้าร่วมสงครามในฐานะผู้สนับสนุนฝ่ายโปรเตสแตนท์ จึงจะเห็นได้ว่าสงครามสามสิบปีไม่ได้มีแค่เรื่องความขัดแย้งทางศาสนาแต่ยังโยงใยไปถึงเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วย
อ่านเพิ่มเติม »
สงคราม สามสิบปี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างฝ่ายที่นิยมจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งนับถือ ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกกับฝ่ายที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ ซึ่งสงครามครั้งนี้แบ่งเป็น 4 ช่วงและแต่ละช่วงมีความหมายของสงครามต่างกันออกไป กล่าวคือ ในช่วงแรกของสงคราม เป็นเรื่องความขัดแย้งทางศาสนาระหว่างรัฐต่างๆในเยอรมันอย่างชัดเจน แต่ทว่าช่วงที่ 2 3 และ 4 ของสงครามกลายเป็นเรื่องระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ 4 ฝรั่งเศสที่เป็นนับถือนิกายโรมันคาทอลิกเข้าร่วมสงครามในฐานะผู้สนับสนุนฝ่ายโปรเตสแตนท์ จึงจะเห็นได้ว่าสงครามสามสิบปีไม่ได้มีแค่เรื่องความขัดแย้งทางศาสนาแต่ยังโยงใยไปถึงเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วย
Perspective ในงานด้านจิตรกรรม
PW Choun | 13:33 |
จิตรกรรม
|
ศิลปกรรมสมัยฟื้นฟูฯ
|
ศิลปะตะวันตก
|
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
Be the first to comment!
โดย กรธนัท ศุภภะ
รูปแบบในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมในช่วงยุคสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการมักจะมีรูปแบบที่แสดงออกถึงความงามตามธรรมชาติและเหนือธรรมชาติและการวาดรูปคนมักจะสนใจความงามของทรวดทรง กล้ามเนื้อ และการแสดงท่าทาง มีการเขียนภาพและแกะสลักภาพเปลือย แสดงสัดส่วนทางกายวิภาคอย่างกว้างขวาง และที่โดดเด่นคือการสร้างสรรค์ผลงานแบบ perspective ซึ่งเป็นการสร้างสรรค์ผลงานในแบบที่ให้ความรู้สึกใกล้ไกลด้วยเส้นเพียงตา
รูปแบบในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมในช่วงยุคสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการมักจะมีรูปแบบที่แสดงออกถึงความงามตามธรรมชาติและเหนือธรรมชาติและการวาดรูปคนมักจะสนใจความงามของทรวดทรง กล้ามเนื้อ และการแสดงท่าทาง มีการเขียนภาพและแกะสลักภาพเปลือย แสดงสัดส่วนทางกายวิภาคอย่างกว้างขวาง และที่โดดเด่นคือการสร้างสรรค์ผลงานแบบ perspective ซึ่งเป็นการสร้างสรรค์ผลงานในแบบที่ให้ความรู้สึกใกล้ไกลด้วยเส้นเพียงตา
องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (NATO)
โดย อรปรียา กัญญาภู
องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ หรือที่เราเรียกกันว่า นาโต (NATO) นั้น เมื่อมีความไม่สงบเกิดขึ้นในแถบแอตแลนติกเหนือ องค์การ NATO นี้จะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องทุกครั้ง องค์การ NATO นี้คืออะไร จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์อะไร และมีประเทศใดบ้างที่เข้าร่วม ดังต่อไป
อ่านเพิ่มเติม »
องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ หรือที่เราเรียกกันว่า นาโต (NATO) นั้น เมื่อมีความไม่สงบเกิดขึ้นในแถบแอตแลนติกเหนือ องค์การ NATO นี้จะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องทุกครั้ง องค์การ NATO นี้คืออะไร จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์อะไร และมีประเทศใดบ้างที่เข้าร่วม ดังต่อไป
เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton)
โดย อภิวรรณ บุญเทศ
ยุคเรอเนซองส์ ไม่ใช่เฉพาะศิลปะเท่านั้นมีความความเจริญรุ่งเรืองแต่ยังเป็นที่บ่มเพาะให้ วิทยาศาสตร์เป็นศาตร์ที่สร้างความเจริญให้โลกในยุคปัจจุบันอีกด้วย เนื่องจากเป็นช่วงระยะที่ เซอร์ไอแซกนิวตัน พบกฏแรงโน้มถ่วงจากการตกของผลแอปเปิ้ล
อ่านเพิ่มเติม »
ยุคเรอเนซองส์ ไม่ใช่เฉพาะศิลปะเท่านั้นมีความความเจริญรุ่งเรืองแต่ยังเป็นที่บ่มเพาะให้ วิทยาศาสตร์เป็นศาตร์ที่สร้างความเจริญให้โลกในยุคปัจจุบันอีกด้วย เนื่องจากเป็นช่วงระยะที่ เซอร์ไอแซกนิวตัน พบกฏแรงโน้มถ่วงจากการตกของผลแอปเปิ้ล
สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (The Treaty of Versailles)
โดย เนติกร สุทธิประภา
เป็นสนธิสัญญาสันติภาพ ที่ทำขึ้น ณ พระราชวังแวร์ซายส์ ประเทศฝรั่งเศส หลังจากที่เยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ข้อตกลงสงบศึกได้ถูกลงนามในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรและประเทศเยอรมันยังต้องใช้เวลาหลังจากนั้นถึงกว่าครึ่งปี จึงจะสามารถตกลงกันและยุติสภาวะสงครามอย่างเป็นทางการได้
เป็นสนธิสัญญาสันติภาพ ที่ทำขึ้น ณ พระราชวังแวร์ซายส์ ประเทศฝรั่งเศส หลังจากที่เยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ข้อตกลงสงบศึกได้ถูกลงนามในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรและประเทศเยอรมันยังต้องใช้เวลาหลังจากนั้นถึงกว่าครึ่งปี จึงจะสามารถตกลงกันและยุติสภาวะสงครามอย่างเป็นทางการได้
องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO)
โดย ภานุพงศ์ เกียรติผดุงพงศ์
UNESCO เป็นองค์กรที่มีชื่อคุ้นหู ว่าเป็นองค์กรที่คัดเลือกสถานที่ให้เป็นมกดกโลก อย่างเช่น การขึ้นประสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกก็มี UNESCO มาเกี่ยวข้อง แต่ที่แท้จริงแล้ว UNESCO คืออะไรเป็นองค์กรที่ทำเกี่ยวกับอะไร ประเทศไทยมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไร เราลองมาดูรายละเอียดกัน
อ่านเพิ่มเติม »
UNESCO เป็นองค์กรที่มีชื่อคุ้นหู ว่าเป็นองค์กรที่คัดเลือกสถานที่ให้เป็นมกดกโลก อย่างเช่น การขึ้นประสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกก็มี UNESCO มาเกี่ยวข้อง แต่ที่แท้จริงแล้ว UNESCO คืออะไรเป็นองค์กรที่ทำเกี่ยวกับอะไร ประเทศไทยมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไร เราลองมาดูรายละเอียดกัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)