ม&#62557

มงแต็สกีเยอ (Montesquieu)

โดย ณัฐรณ ชาวบ้านตาด หากจะกล่าวถึงอำนาจสูงสุดซึ่งเป็นหลักสากลที่ใช้ในการปกครองรัฐอำนาจนั้นคือ   อำนาจอธิปไตย อันหมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ โดยอำนาจอธิปไตยนั้นย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง โดยหลักสากล รัฐจะมีองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยอยู่ 3 องค์กร ได้แก่...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)

โดย ชยางกูร วรรักษา อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ชาวเยอรมันเชื้อสายยิวที่มีสัญชาติสวิสและอเมริกัน (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

โธมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson)

โดย ภัทรนิศวร์ จันทราธนสิทธิ์ โธมัส เจฟเฟอร์สัน  เป็นประธานาธิบดีคนที่ 3 ของอเมริกา และเป็นประธานาธิบดีที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คนหนึ่ง ในฐานะประธานาธิบดี เจฟเฟอร์สันทำให้อำนาจของรัฐบาลเข้มแข็ง เป็นประธานาธิบดีคนแรกที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมือง และใช้อำนาจผ่านพรรคการเมืองในการคว...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

ศิลปะแบบรอคโคโค (Rococo)

โดย ปิยาภรณ์ เหล่าเกียรติชัย ศิลปะแบบรอคโคโคพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 แบบของโรโคโคจะเป็นเอกภาพคือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องประดับจะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกันคือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมาภายในห้องจะมีเฟอร์นิเจอร์ที่หรูหราและอลังการ...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

ชนชั้นในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิค

โดย ชวพล จึงสมาน ในยุคที่ศาสนจักรมีบทบาทอย่างมาก ทั้งในเรื่องอิทธิพลต่อจิตใจคน การเมือง การปกครอง หรือแม้กระทั่งเศรษกิจ ซึ่งศาสนจักรนั้นหมายถึงศาสนาคริสต์ โดยในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิคมีการแบ่งชนชั้นการปกครองดังนี...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

เอ็กซเพรสชันนิสม์ (Expressionism)

โดย ชวพล จึงสมาน ในยุคสมัยใหม่มีลัทธิทางศิลปะเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งลัทธิต่างๆอาจจะเกิดจากวิถีชีวิตของคนในสังคม การเมือง อารมณ์ต่าง โดยมีหลายลัทธิที่เป็นลัทธิที่แสดงออกถึงสภาพความจริงของสังคม หนึ่งในลัทธิที่มีอิทธิพลต่อคนในสังคม คือ เอ็กซเพรสชันนิสม์ (Expressionism...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

มหาวิทยาลัยในยุคกลาง

โดย นัฐฐิกรณ์ พันธุ์ยุรา การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยของสมัยกลางในช่วงต้นนั้น มุ่งเน้นไปที่การศึกษาทางด้านเทววิทยา โดยใช้โบสถ์ของศาสนาคริสต์เป็นสถานศึกษา ต่อมามีการจัดตั้งสถานศึกษาที่แยกออกจากโบสถ์ขึ้นในอิตาลี เพื่อเพิ่มพูนวิชาความรู้ให้แก่ผู้ที่เตรียมตัวเป็นพระให้สูงยิ่งขึ้น ซึ่งต่อมาได้วิวัฒนาการกลายเป็นมหาวิทยาลัย...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

พระแม่มารีแห่งภูผา (Virgin of the Rocks)

โดย นัฐฐิกรณ์ พันธุ์ยุรา ในยุคกลาง ศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์โดยเฉพาะ ทำให้ศิลปิน ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการออกมาอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการนั้น ศิลปินนิยมใช้รูปแบบงานศิลปะของทางกรีก-โรมันซึ่งมีความเป็นธรรมชาติ...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

ลัทธิปัจเจกนิยม (Individualism)

โดย พรเพ็ญ กงศรี ลัทธิปัจเจกนิยมเป็นลัทธิทางสังคมที่เกิดขึ้นในยุคกลาง ลัทธิปัจเจกนิยมจะเชื่อมั่นในศักยภาพของความเป็นมนุษย์ที่อยู่เหนือโชคชะตาและยังเคารพเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเอ...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#62557

วิทยาการการพิมพ์ ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

โดย วิภารัตน์ มนัสสา ถ้าจะกล่าวถึงการพิมพ์ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมากของมนุษย์ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันถือได้ว่าเป็นอีกปัจจัยที่ทำให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้สิ่งต่างได้มากขึ้น รู้หนังสือมากขึ้น การพิมพ์ได้มีมาตั้งแต่ในสมัยอารยธรรมโบราณ ได้รู้จักการใช้ของแข็งกดลงบนดินทำให้เกิดลวดลายตัวอักษร...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)

โดย ภาวิณี ยะลาเร้    ลีโอนาโด ดาร์วินซี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี เขามีความคิดว่าการวาดภาพนั้นไม่ควรแสดงเพียงความเหมือนต้นแบบ แต่ควรแสดงอารมณ์ และความรู้สึกลึกๆ ในจิตใจของผู้ถูกวาดด้วย เขาจึงคิดว่า การวาดภาพอวัยวะที่เห็นจากภายนอกมันยังไม่พอ ยังต้องมีความร...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

องค์การการค้าโลก หรือ WTO (World Trade Organization)

โดย ธนกฤฒย์ บุญอนันต์ องค์การการค้าโลก หรือที่เรียกๆกันในระดับสากลว่า WTO (World Trade Organization) องค์การนี้เป็นองค์การนี่สังกัดขึ้นตรงกับองค์การสหประชาชาติหรือ U...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

กระบวนการของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

โดย วิชุดา พรพยุหะ กระบวนการของการฟื้นฟูศิลปวิทยการนั้นเริ่มต้นด้วยความสนใจ ตื่นตัวที่จะศึกษาภาษาโบราณต่างๆ ได้แก่ กรีก ละติน และฮิบรู บรรดาพวกนักมนุษยศาสตร์ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนยุโรปหันมาสนใจภาษาโบราณแล้วยังกระตุ้นให้พวกเขาได้สนใจในภาษาท้องถิ่นของตัวเองด้วย มีการคิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ชนิดแท่นเคลื่อนที่ได้...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

ภาพจิตรกรรมบนผนังและเพดานที่ วิหารซิสติน (The Sistine Chapel)

โดย พิณยดา  ทองรักษ์ โบสถ์น้อยซิสทีน เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

พระราชวังแวร์ซายน์ (Château de Versailles)

โดย ณัฐนิชา หลิมบุญงาม เมื่อกล่าวถึงสิ่งก่อสร้างที่หรูหรา และงดงาม หลายคนคงนึกถึง พระราชวังแวร์ซายส์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยที่สุดก็ว่าได้ ด้วยความที่เป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความเป็นเอกลักษณ์ แสดงถึงศิลปะในยุคที่ก่อสร้างขึ้นได้อย่างชัดเจน จึงมีความงดงามที่ทำให้ผู้เยี่ยมชม...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

ภาพวาดโมนาลิซา (Mona Lisa)

โดย นัยนา ตั้งดำรงวัฒน์ หนึ่งในภาพวาดที่มีชื่อเสียงที่สุดโลก ที่ทุกคนใฝ่ฝันอยากจะไปเห็นด้วยตาตัวเองสักครั้ง ภาพหญิงสาวที่มีรอยยิ้มลึกลับ น่าค้นหา เป็นที่ดึงดูดใจของผู้คน จะเป็นภาพใดไม่ได้นอกจาก ภาพโมนาลิซา ผลงานชิ้นเอกของ ลีโอนาร์โด ดา วินช...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

สงคราม 30 ปี (Thirty years war)

โดย สุรเกียรติ เสริมศิริกาญจนา สงคราม สามสิบปี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างฝ่ายที่นิยมจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งนับถือ ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกกับฝ่ายที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ ซึ่งสงครามครั้งนี้แบ่งเป็น 4 ช่วงและแต่ละช่วงมีความหมายของสงครามต่างกันออกไป กล่าวคือ...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

Perspective ในงานด้านจิตรกรรม

โดย กรธนัท ศุภภะ รูปแบบในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมในช่วงยุคสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการมักจะมีรูปแบบที่แสดงออกถึงความงามตามธรรมชาติและเหนือธรรมชาติและการวาดรูปคนมักจะสนใจความงามของทรวดทรง กล้ามเนื้อ และการแสดงท่าทาง มีการเขียนภาพและแกะสลักภาพเปลือย แสดงสัดส่วนทางกายวิภาคอย่างกว้างขวาง...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (NATO)

โดย อรปรียา กัญญาภู       องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ หรือที่เราเรียกกันว่า  นาโต (NATO) นั้น เมื่อมีความไม่สงบเกิดขึ้นในแถบแอตแลนติกเหนือ องค์การ NATO นี้จะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องทุกครั้ง องค์การ NATO นี้คืออะไร จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์อะไร และมีประเทศใดบ้างที่เข้าร่วม...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton)

โดย อภิวรรณ บุญเทศ ยุคเรอเนซองส์  ไม่ใช่เฉพาะศิลปะเท่านั้นมีความความเจริญรุ่งเรืองแต่ยังเป็นที่บ่มเพาะให้ วิทยาศาสตร์เป็นศาตร์ที่สร้างความเจริญให้โลกในยุคปัจจุบันอีกด้วย เนื่องจากเป็นช่วงระยะที่ เซอร์ไอแซกนิวตัน พบกฏแรงโน้มถ่วงจากการตกของผลแอปเปิ้...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

ธีโอดอร์ เจริโคลต์ (Theodore Gericault)

โดย ธีร์วรา วีรวุฒิไกร ศิลปะแบบจินตนิยม (Romanticism) มีทรรศนคติที่ต้องการความเป็นอิสระในการแสดงออกที่ศิลปินต้องการมากกว่าเดินตามกฏเกณฑ์และแบบแผนทางศิลป...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (The Treaty of Versailles)

โดย เนติกร  สุทธิประภา เป็นสนธิสัญญาสันติภาพ ที่ทำขึ้น ณ พระราชวังแวร์ซายส์ ประเทศฝรั่งเศส หลังจากที่เยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ข้อตกลงสงบศึกได้ถูกลงนามในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรและประเทศเยอรมันยังต้องใช้เวลาหลังจากนั้นถึงกว่าครึ่งปี...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#52557

ดินปืน (Gunpowder)

โดย เนติกร  สุทธิประภา ดินปืน มหันตภัยอาวุธที่นำมาซึ่งจุดจบของยุคอัศวิน  ดินปืนได้ถูกนำมาใช้และพัฒนาไปในช่วงสมัยกลางตอนปลาย(Late Middle Age 1300-1500)ของยุโรป เป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของระบบฟิวดันสู่ยุคสมัยใหม...
อ่านเพิ่มเติม »
ม&#32557

องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO)

โดย ภานุพงศ์ เกียรติผดุงพงศ์ UNESCO เป็นองค์กรที่มีชื่อคุ้นหู ว่าเป็นองค์กรที่คัดเลือกสถานที่ให้เป็นมกดกโลก อย่างเช่น การขึ้นประสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกก็มี UNESCO มาเกี่ยวข้อง แต่ที่แท้จริงแล้ว UNESCO คืออะไรเป็นองค์กรที่ทำเกี่ยวกับอะไร ประเทศไทยมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไร เราล...
อ่านเพิ่มเติม »