โดย กนกวรรณ โพธิ์ไทร
ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ผู้ที่ถือได้ว่าเป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ ผู้นั้นคือ ราฟาเอล โดยมีนามเต็มว่า “ราฟาเอลโล ซันซิโอ” (Raffaello Sanzio)
เว็บบล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 418110 World Civilization (อารยธรรมโลก) สาขาวิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อมูลในที่นี้มุ่งเน้นเพื่อให้สาระความรู้และความบันเทิง ไม่ใช่งานเขียนเชิงวิชาการและไม่เหมาะสำหรับการนำไปอ้างอิงต่อ
หน้าเว็บ
▼
หัวข้อย่อย
▼
ยุคสมัยของอารยธรรม
▼
31 ม.ค. 2557
เออแฌน เดอลาครัวซ์ (Eugene Delacroix)
โดย สุพพัตรา สมานสิทธิ์
หากกล่าวถึงการดำเนินชีวิตของคนในสังคม ไม่ว่าจะอยู่ในชนชั้นใดหรือมีฐานะดีหรือไม่ ต่างก็ต้องการความบันเทิงทั้งทางตาและจิตใจ ไม่ว่าจะเป็นการชื่นชมผลงานรูปภาพหรือการฟังเพลงเพื่อให้มีความผ่อนคลายลงจากการทำงานทั้งสิ้น
หากกล่าวถึงการดำเนินชีวิตของคนในสังคม ไม่ว่าจะอยู่ในชนชั้นใดหรือมีฐานะดีหรือไม่ ต่างก็ต้องการความบันเทิงทั้งทางตาและจิตใจ ไม่ว่าจะเป็นการชื่นชมผลงานรูปภาพหรือการฟังเพลงเพื่อให้มีความผ่อนคลายลงจากการทำงานทั้งสิ้น
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus)
แต่โบราณกาลเป็นต้นมามนุษย์ไม่รู้จักทวีปอเมริกาและออสเตรเลียเลย ในแผนที่ของสมัยนั้นไม่มีสองทวีปนี้ปรากฏอยู่ นอกจากนั้นแล้วยังมีความเชื่อว่าโลกของเรามีลักษณะแบน หากล่องเรือออกไปไกลจะตกขอบโลก จนกระทั้งราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 - 17 เป็นยุคที่มีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเป็นยุคแห่งการค้นหา การสำรวจ ชาวยุโรปต่างออกเดินทางสำรวจทะเล เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ โดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าสนองความต้องการของตลาด มีการแสวงหาเส้นทางใหม่ไปยังเอเชีย
30 ม.ค. 2557
สงครามโลกครั้งที่ 2 (World War II)
โดย นราธร เชาวนะกิจ
โลกภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้เกิดความอลหม่านวุ่นวายขึ้น ทั่วทวีปยุโรปเกิดสภาวะปัญหาเศรษฐกิจล่มผู้คนอดอยากอาหารเกิดอาชญากรรมขึ้นมากมาย ฝั่งโลกตะวันออกในเอเชีย จักรวรรดิญี่ปุ่นได้ทำการแผ่ขยายอิทธิพลเข้าครอบคลุมเอเชียและออสเตรเลียด้วยหวังที่จะสร้างพงศ์ไพบูลย์แห่งเอเชียหรือการรวมชาติเอเชียไว้ด้วยกัน
โลกภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้เกิดความอลหม่านวุ่นวายขึ้น ทั่วทวีปยุโรปเกิดสภาวะปัญหาเศรษฐกิจล่มผู้คนอดอยากอาหารเกิดอาชญากรรมขึ้นมากมาย ฝั่งโลกตะวันออกในเอเชีย จักรวรรดิญี่ปุ่นได้ทำการแผ่ขยายอิทธิพลเข้าครอบคลุมเอเชียและออสเตรเลียด้วยหวังที่จะสร้างพงศ์ไพบูลย์แห่งเอเชียหรือการรวมชาติเอเชียไว้ด้วยกัน
ศิลปะเรียลลิสม์ (Realism)
โดย โสมนัส ไชยา
ศิลปะเรียลลิสม์เกิดขึ้นประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ค.ศ. 1850-1880) มีจุดเริ่มต้นในประเทศฝรั่งเศส โดยกลุ่มศิลปินชาวฝรั่งเศสกลุ่มหนึ่งที่ไม่เห็นด้วยกับการทํางานของกลุ่ม "นีโอ-คลาสสิคอิสม์" (คลาสสิคใหม่ คือความเคลื่อนไหวทางศิลปะซึ่งมีสุนทรียภาพแบบกรีกและโรมัน) และ "กลุ่มโรแมนติกอิสม์" (จินตนิยม) ที่ยึดถือประเพณีหรือตัวตนเป็นหลัก หรือแสดงความคิดฝันเอาตามใจตนเอง ศิลปินเรียลลิสม์เห็นว่าศิลปะทั้งสองไม่ได้แสดงความกลมกลืนของชีวิต ยังคงลักษณะความเป็นอุดมคติอยู่ หาใช่ความจริงไม่
ศิลปะเรียลลิสม์เกิดขึ้นประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ค.ศ. 1850-1880) มีจุดเริ่มต้นในประเทศฝรั่งเศส โดยกลุ่มศิลปินชาวฝรั่งเศสกลุ่มหนึ่งที่ไม่เห็นด้วยกับการทํางานของกลุ่ม "นีโอ-คลาสสิคอิสม์" (คลาสสิคใหม่ คือความเคลื่อนไหวทางศิลปะซึ่งมีสุนทรียภาพแบบกรีกและโรมัน) และ "กลุ่มโรแมนติกอิสม์" (จินตนิยม) ที่ยึดถือประเพณีหรือตัวตนเป็นหลัก หรือแสดงความคิดฝันเอาตามใจตนเอง ศิลปินเรียลลิสม์เห็นว่าศิลปะทั้งสองไม่ได้แสดงความกลมกลืนของชีวิต ยังคงลักษณะความเป็นอุดมคติอยู่ หาใช่ความจริงไม่
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ - ระยะคลาสสิก
โดย พัชรี หงษ์ทอง
อิตาลีในสมัยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในระหว่างคริสศตวรรษที่ 14 หรือช่วงยุคเรเนสซองส์นั้น วัฒนธรรมในช่วงนี้ได้แตกต่างจากช่วงยุคกลาง คือเกิดค่านิยมตามหลักการนุษยนิยม ควบคู่ไปกับการฟื้นฟูศิลปวิทยา ค่านิยมใหม่นี้เริ่มต้นและแพร่หลายไปรวดเร็วทั่วยุโรปเนื่องจากมีการคิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ ทำให้ความรู้แพร่กระจายออกไปได้อย่างรวดเร็ว โดยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยานี้แบ่งได้เป็น 3 ระยะคือ ระยะคลาสสิค ระยะมนุษยนิยม และระยะศาสนา บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับระยะคลาสสิค หรือ ระยะที่ย้อนกลับไปสู่กรุงโรมที่มีความหลากหลายทางด้านศิลปะมากมาย
อิตาลีในสมัยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในระหว่างคริสศตวรรษที่ 14 หรือช่วงยุคเรเนสซองส์นั้น วัฒนธรรมในช่วงนี้ได้แตกต่างจากช่วงยุคกลาง คือเกิดค่านิยมตามหลักการนุษยนิยม ควบคู่ไปกับการฟื้นฟูศิลปวิทยา ค่านิยมใหม่นี้เริ่มต้นและแพร่หลายไปรวดเร็วทั่วยุโรปเนื่องจากมีการคิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ ทำให้ความรู้แพร่กระจายออกไปได้อย่างรวดเร็ว โดยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยานี้แบ่งได้เป็น 3 ระยะคือ ระยะคลาสสิค ระยะมนุษยนิยม และระยะศาสนา บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับระยะคลาสสิค หรือ ระยะที่ย้อนกลับไปสู่กรุงโรมที่มีความหลากหลายทางด้านศิลปะมากมาย
การปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolution)
โดย ธิดาแก้ว วงศ์โยธา
เนื่องจากสังคมโลกในยุคสมัยใหม่เป็นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาในด้านต่างๆเกิดขึ้นมากมาย ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ ผลที่เกิดจากการที่โลกได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่มาหลายต่อหลายครั้ง เช่น การปฏิวัติอุตสาหก รรม ซึ่งได้สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ส่งผลกระทบถึงรูปแบบของการผลิตเพื่อเศรษฐกิจของโลก และการปฏิวัติทางสังคมในหลายประเทศ แต่สำหรับการปฏิวัติทางสังคมที่นับได้ว่าเป็นเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด นองเลือดที่สุด ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการเมืองทั่วยุโรป พลิกยุโรปให้ก้าวสู่ยุคใหม่ ได้แก่ การปฏิวัติฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1789
เนื่องจากสังคมโลกในยุคสมัยใหม่เป็นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาในด้านต่างๆเกิดขึ้นมากมาย ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ ผลที่เกิดจากการที่โลกได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่มาหลายต่อหลายครั้ง เช่น การปฏิวัติอุตสาหก รรม ซึ่งได้สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ส่งผลกระทบถึงรูปแบบของการผลิตเพื่อเศรษฐกิจของโลก และการปฏิวัติทางสังคมในหลายประเทศ แต่สำหรับการปฏิวัติทางสังคมที่นับได้ว่าเป็นเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด นองเลือดที่สุด ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการเมืองทั่วยุโรป พลิกยุโรปให้ก้าวสู่ยุคใหม่ ได้แก่ การปฏิวัติฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1789
วิลเลียม เชกสเปียร์ ( William Shakespeare)
โดย สุภามาศ ปาลศรี
วิลเลียม เชกสเปียร์ อัจฉริยะกวีและนักเขียนบทละครผู้โด่งดัง ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลกมักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน)
วิลเลียม เชกสเปียร์ อัจฉริยะกวีและนักเขียนบทละครผู้โด่งดัง ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลกมักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน)
องค์การสหประชาชาติ (The United Nations)
โดย สเมียร์ นาดี
เพราะความไร้ประสิทธิภาพของ องค์การสันนิบาติชาติ จึงทำให้เกิดโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่ในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างไรก็ตาม จากเหตุกาณ์ความสูญเสียครั้งนี้จึงได้มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติจึงได้ก่อกำเนิดขี้นในปี ค.ศ 1943
เพราะความไร้ประสิทธิภาพของ องค์การสันนิบาติชาติ จึงทำให้เกิดโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่ในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างไรก็ตาม จากเหตุกาณ์ความสูญเสียครั้งนี้จึงได้มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติจึงได้ก่อกำเนิดขี้นในปี ค.ศ 1943
ไมเคิลแองเจโล (Michelangelo)
โดย กิตติคุณ สุทธิวงศ์
ในบรรดาศิลปินชั้นนำของโลกจะมีซักกี่คนที่เข้าถึงศาสตร์นั้นๆได้อย่างแท้จริงเท่า ไมเคิลแองเจโล คือหนึ่งในศิลปินที่สามารถเข้าถึงศิลปะได้หลายๆศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น จิตรกร สถาปนิก และประติมากร ที่ได้สร้างผลงานที่สวยงาม และมีมิติไว้ให้คนรุ่นหลังได้ชมความสวยงามของศิลปกรรม
ในบรรดาศิลปินชั้นนำของโลกจะมีซักกี่คนที่เข้าถึงศาสตร์นั้นๆได้อย่างแท้จริงเท่า ไมเคิลแองเจโล คือหนึ่งในศิลปินที่สามารถเข้าถึงศิลปะได้หลายๆศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น จิตรกร สถาปนิก และประติมากร ที่ได้สร้างผลงานที่สวยงาม และมีมิติไว้ให้คนรุ่นหลังได้ชมความสวยงามของศิลปกรรม
29 ม.ค. 2557
นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus)
โดย กุลธิดา หมุนสุข
นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus) เป็นชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1473 เป็นทั้งนายแพทย์ นักคณิตศาสตร์ และนักดาราศาสตร์ผู้บุกเบิกแนวทางให้กับนักดาราศาสตร์ในรุ่นต่อมาอย่างกาลิเลโอและถือได้ว่าโคเปอร์นิคัสเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของสุริยจักรวาลและโลกมีสัณฐานเป็นทรงกลม นอกจากนี้เขายังได้ตั้งทฤษฎีเพื่ออธิบายเกี่ยวกับฤดูกาล กลางวันและกลางคืนได้อย่างถูกต้องอีกด้วย
นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus) เป็นชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1473 เป็นทั้งนายแพทย์ นักคณิตศาสตร์ และนักดาราศาสตร์ผู้บุกเบิกแนวทางให้กับนักดาราศาสตร์ในรุ่นต่อมาอย่างกาลิเลโอและถือได้ว่าโคเปอร์นิคัสเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของสุริยจักรวาลและโลกมีสัณฐานเป็นทรงกลม นอกจากนี้เขายังได้ตั้งทฤษฎีเพื่ออธิบายเกี่ยวกับฤดูกาล กลางวันและกลางคืนได้อย่างถูกต้องอีกด้วย
28 ม.ค. 2557
สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I)
โดย กุลวัฒน์ วงศาโรจน์
สงครามโลกครั้งที่ 1 ถือว่าเป็นสงครามที่แย่งชิงความเป็นใหญ่และแข่งขันกันในการแสวงหาผลประโยชน์ของชาติมหาอำนาจในยุโรป จนมีการแบ่งมหาอำนาจเป็นสองฝ่าย ซึ่งต่างฝ่ายต่างแข่งขันกันในด้านการดำเนินนโยบายทางการทูตและทางการทหาร จนก่อให้เกิดสงคราม ซึ่งกินระยะเวลาที่ยาวนานและเกิดผลกระทบที่ตามมาหลายอย่าง
สงครามโลกครั้งที่ 1 ถือว่าเป็นสงครามที่แย่งชิงความเป็นใหญ่และแข่งขันกันในการแสวงหาผลประโยชน์ของชาติมหาอำนาจในยุโรป จนมีการแบ่งมหาอำนาจเป็นสองฝ่าย ซึ่งต่างฝ่ายต่างแข่งขันกันในด้านการดำเนินนโยบายทางการทูตและทางการทหาร จนก่อให้เกิดสงคราม ซึ่งกินระยะเวลาที่ยาวนานและเกิดผลกระทบที่ตามมาหลายอย่าง
ยูโทเปีย (Utopia) แนวคิดโลกในอุดมคติของ โทมัส มอร์ (Thomas More)
โดย จุลลดา สีน้อยขาว
ผู้คนมากมายใฝ่ฝันถึงสังคมที่สมบูรณ์แบบ ยิ่งกับสถานการณ์บ้านเมืองที่เต็มไปด้วยความวุ่นวาย แตกแยกคงปฏิเสธไม่ได้ว่า ยูโทเปีย จึงเป็นคำตอบที่ชัดเจนและตอบโจทย์ยิ่งสำหรับพวกเขา กระนั้นหากขึ้นชื่อว่าเป็นสังคมในอุดมคติก็ย่อมไม่เคยมีมันอยู่จริง ยูโทเปียเป็นเพียงเมืองในจินตนาการ เสมือนเป็นแบบแผนชีวิตในสังคมอันสวยงามที่ไร้ความขัดแย้ง คนในสังคมมีความคิดไปไหนทิศทางเดียวกันอีกทั้งยังใช้ชีวิตอย่างสงบสุข โดยเจ้าของแนวคิดนี้ก็คือ โทมัส มอร์ ซึ่งเป็นทั้งนักเขียน นักกฎหมาย นักปรัชญาสังคม รัฐบุรุษ และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา มีชีวิตอยู่ในช่วง ค.ศ. 1477 -1535 (รวมอายุ 58 ปี) เคยได้รับราชการในตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของพระเจ้าเฮนรี่ที่ 8
ผู้คนมากมายใฝ่ฝันถึงสังคมที่สมบูรณ์แบบ ยิ่งกับสถานการณ์บ้านเมืองที่เต็มไปด้วยความวุ่นวาย แตกแยกคงปฏิเสธไม่ได้ว่า ยูโทเปีย จึงเป็นคำตอบที่ชัดเจนและตอบโจทย์ยิ่งสำหรับพวกเขา กระนั้นหากขึ้นชื่อว่าเป็นสังคมในอุดมคติก็ย่อมไม่เคยมีมันอยู่จริง ยูโทเปียเป็นเพียงเมืองในจินตนาการ เสมือนเป็นแบบแผนชีวิตในสังคมอันสวยงามที่ไร้ความขัดแย้ง คนในสังคมมีความคิดไปไหนทิศทางเดียวกันอีกทั้งยังใช้ชีวิตอย่างสงบสุข โดยเจ้าของแนวคิดนี้ก็คือ โทมัส มอร์ ซึ่งเป็นทั้งนักเขียน นักกฎหมาย นักปรัชญาสังคม รัฐบุรุษ และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา มีชีวิตอยู่ในช่วง ค.ศ. 1477 -1535 (รวมอายุ 58 ปี) เคยได้รับราชการในตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของพระเจ้าเฮนรี่ที่ 8
ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก (Neo-Classic)
โดย ธันยวัฒน์ แพรวงศ์นุกูล
ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก (Neo-Classic) เป็นรูปแบบศิลปะที่ได้รับอิทธิพลมาจากการที่ชาวฝรั่งเศสเกิดการต่อต้านระบบฟิวดัล หรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ (Feudalism) ที่แบ่งชนชั้น จากปัญหาทางการเมืองดังกล่าว เป็นสาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งที่ทำให้ชาวยุโรปกลับมาสนใจในศิลปะแบบคลาสสิกอีกครั้งหนึ่ง
ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก (Neo-Classic) เป็นรูปแบบศิลปะที่ได้รับอิทธิพลมาจากการที่ชาวฝรั่งเศสเกิดการต่อต้านระบบฟิวดัล หรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ (Feudalism) ที่แบ่งชนชั้น จากปัญหาทางการเมืองดังกล่าว เป็นสาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งที่ทำให้ชาวยุโรปกลับมาสนใจในศิลปะแบบคลาสสิกอีกครั้งหนึ่ง
วรรณกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
โดย ชลิตา บวรบุญ
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ วรรณกรรมในยุโรปตะวันตกมีผลงานที่เขียนด้วยภาษาท้องถิ่นและสะท้อนความคิดด้านมนุษยนิยมอย่างแพร่หลายเนื่องจากมีเครื่องแท่นพิมพ์หนังสือ ที่สามารถพิมพ์หนังสือได้จำนวนมากในเวลารวดเร็ว นอกจากการพิมพ์จะเป็นการเผยแพร่แนวคิดแบบมนุษย์นิยมแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดการผลิตผลงานวรรณกรรมของนักวิชาการ และกวีในสังคมยุโรปอีกด้วย
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ วรรณกรรมในยุโรปตะวันตกมีผลงานที่เขียนด้วยภาษาท้องถิ่นและสะท้อนความคิดด้านมนุษยนิยมอย่างแพร่หลายเนื่องจากมีเครื่องแท่นพิมพ์หนังสือ ที่สามารถพิมพ์หนังสือได้จำนวนมากในเวลารวดเร็ว นอกจากการพิมพ์จะเป็นการเผยแพร่แนวคิดแบบมนุษย์นิยมแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดการผลิตผลงานวรรณกรรมของนักวิชาการ และกวีในสังคมยุโรปอีกด้วย
23 ม.ค. 2557
ศิลปะไบแซนไทน์ (Byzantine Art)
โดย รณยุทธ โสภณ
ศิลปะไบแซนไทน์ (Byzantine Art) ถือได้ว่าเป็นศิลปะที่มีเอกลักษณ์อันโดนเด่นซึ่งเป็นงานศิลปะในด้านศาสนา ที่เชื่อมโยงความคิดและลักษณะศิลปะตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน เป็นศิลปะของรัฐที่นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ซึ่งปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นอิสตันบูล โดยทั่วไปลักษณะศิลปะไบเเซนไทน์จะมีลักษณะใหญ่โตเข้มแข็ง และมีการตกแต่งประดับประดาด้วยการใช้พื้นผิวของวัสดุหลาย ๆ อย่าง
ศิลปะไบแซนไทน์ (Byzantine Art) ถือได้ว่าเป็นศิลปะที่มีเอกลักษณ์อันโดนเด่นซึ่งเป็นงานศิลปะในด้านศาสนา ที่เชื่อมโยงความคิดและลักษณะศิลปะตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน เป็นศิลปะของรัฐที่นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ซึ่งปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นอิสตันบูล โดยทั่วไปลักษณะศิลปะไบเเซนไทน์จะมีลักษณะใหญ่โตเข้มแข็ง และมีการตกแต่งประดับประดาด้วยการใช้พื้นผิวของวัสดุหลาย ๆ อย่าง
17 ม.ค. 2557
จักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire)
โดย ศุภฤกษ์ พวงจำปา
ไบเซ็นไทน์เดิมเป็นดินแดนอาณานิคมของกรีก เรียกกันว่า ไบเซส ( Byzas) ต่อมาเมื่อ ค.ศ.330 จักรพรรดิคอนสแตนตินได้ใช้เป็นฐานอำนาจสำรองของกรุงโรม ในช่วงสุดท้ายของจักรวรรดิโรมัน เมืองไบแซนไทน์จึงเป็นเมืองหลวงโดยสมบูรณ์ของอาณาจักรโรมันตะวันออก สืบทอดอารรยธรรมกรีก-โรมันโบราณ ภาษาราชการใช้ภาษาละตินเป็นหลัก เมืองหลวงแห่งนี้มีชื่อว่า คอนสแตนติโนเปิล (The City of Constantine) เพื่อเป็นเกียรติให้แก่ จักรพรรดิคอนสแตนติโนเปิล
ไบเซ็นไทน์เดิมเป็นดินแดนอาณานิคมของกรีก เรียกกันว่า ไบเซส ( Byzas) ต่อมาเมื่อ ค.ศ.330 จักรพรรดิคอนสแตนตินได้ใช้เป็นฐานอำนาจสำรองของกรุงโรม ในช่วงสุดท้ายของจักรวรรดิโรมัน เมืองไบแซนไทน์จึงเป็นเมืองหลวงโดยสมบูรณ์ของอาณาจักรโรมันตะวันออก สืบทอดอารรยธรรมกรีก-โรมันโบราณ ภาษาราชการใช้ภาษาละตินเป็นหลัก เมืองหลวงแห่งนี้มีชื่อว่า คอนสแตนติโนเปิล (The City of Constantine) เพื่อเป็นเกียรติให้แก่ จักรพรรดิคอนสแตนติโนเปิล
13 ม.ค. 2557
11 ม.ค. 2557
10 ม.ค. 2557
9 ม.ค. 2557
ความหมายของ ยุคมืด (Dark Age)
มหาวิทยาลัยในยุคกลาง
โดย ศุภนิดา วัฒนานนท์
ไม่ว่าจะอยู่ในยุคปัจจุบันหรืออดีต การศึกษาก็ยังคงเป็นสิ่งจำเป็นเละเป็นสิ่งสำคัญต่อมนุษย์ในทุกยุคทุกสมัย ยุโรปในสมัยกลางได้มีการสร้างมหาวิทยาลัยขึ้น เพื่อเป็นสถานที่ถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลในยุคนั้นได้เข้ามาศึกษาเล่าเรียน มหาวิทยาลัยจึงนับเป็นมรดกที่สำคัญของยุโรปในสมัยกลาง และเป็นผลิตผลโดยตรงของสังคมเมือง
ไม่ว่าจะอยู่ในยุคปัจจุบันหรืออดีต การศึกษาก็ยังคงเป็นสิ่งจำเป็นเละเป็นสิ่งสำคัญต่อมนุษย์ในทุกยุคทุกสมัย ยุโรปในสมัยกลางได้มีการสร้างมหาวิทยาลัยขึ้น เพื่อเป็นสถานที่ถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลในยุคนั้นได้เข้ามาศึกษาเล่าเรียน มหาวิทยาลัยจึงนับเป็นมรดกที่สำคัญของยุโรปในสมัยกลาง และเป็นผลิตผลโดยตรงของสังคมเมือง
8 ม.ค. 2557
"The Black Death" การระบาดครั้งใหญ่ของกาฬโรคในยุโรป
โดย กฤษวัชร์ เจริญกิจสุพัฒน์
สงคราม การต่อสู้ สามารถทำให้คนตายได้มากมาย แต่ก็มีอีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้คนจำนวนมากตายได้เช่นกันคือ โรคระบาด ซึ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้เกี่ยวกับ “แบล็กเดท” (Black Death) เป็นโรคระบาดครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 200 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–1350
สงคราม การต่อสู้ สามารถทำให้คนตายได้มากมาย แต่ก็มีอีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้คนจำนวนมากตายได้เช่นกันคือ โรคระบาด ซึ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้เกี่ยวกับ “แบล็กเดท” (Black Death) เป็นโรคระบาดครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 200 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–1350
ชนเผ่าแฟรงก์ (Frankish Tribes)
โดย ชฎารัตน์ อุ่นอบ
ในยุคของยุโรปสมัยกลางเมื่อ ค.ศ.476 เผ่าเยอรมันได้ปลดจักรพรรดิองค์สุดท้ายของโรมันตะวันตก หรือที่เรียกว่า โรม ถือเป็นการสิ้นสุดจักรวรรดิโรมัน ดินแดนยุโรปจึงได้แยกออกเป็นอาณาจักร ชนเผ่าต่าง ๆ จึงเกิดความวุ่นวายทางการเมือง เศรษฐกิจ จึงเกิดเป็นชนเผ่าต่างๆหลายชนเผ่า หนึ่งในนั้นคือชนเผ่าแฟรงก์
ในยุคของยุโรปสมัยกลางเมื่อ ค.ศ.476 เผ่าเยอรมันได้ปลดจักรพรรดิองค์สุดท้ายของโรมันตะวันตก หรือที่เรียกว่า โรม ถือเป็นการสิ้นสุดจักรวรรดิโรมัน ดินแดนยุโรปจึงได้แยกออกเป็นอาณาจักร ชนเผ่าต่าง ๆ จึงเกิดความวุ่นวายทางการเมือง เศรษฐกิจ จึงเกิดเป็นชนเผ่าต่างๆหลายชนเผ่า หนึ่งในนั้นคือชนเผ่าแฟรงก์
โค้งแหลม (Pointed arch) ตามแบบศิลปะโกธิค
โดย สุพพัตรา สมานสิทธิ์
หากกล่าวถึงมรดกทางอารยธรรมในอดีตที่ตกทอดมายังปัจจุบัน เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า อารยธรรมที่มีในปัจจุบันนี้ เราไม่ได้รับอิทธิพลแนวคิดจากมรดกอารยธรรมในอดีต เพราะไม่ว่าจะเป็นงานศิลปะ จิตรกรรมหรือการสร้างสถาปัตยกรรมเองก็ตามล้วนแต่รับอิทธิพลจากอดีตทั้งสิ้นโดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงและปรับรูปแบบให้เป็นไปตามวิถีชีวิตและสังคมหรือเหตุการณ์ในสมัยนั้นๆ
หากกล่าวถึงมรดกทางอารยธรรมในอดีตที่ตกทอดมายังปัจจุบัน เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า อารยธรรมที่มีในปัจจุบันนี้ เราไม่ได้รับอิทธิพลแนวคิดจากมรดกอารยธรรมในอดีต เพราะไม่ว่าจะเป็นงานศิลปะ จิตรกรรมหรือการสร้างสถาปัตยกรรมเองก็ตามล้วนแต่รับอิทธิพลจากอดีตทั้งสิ้นโดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงและปรับรูปแบบให้เป็นไปตามวิถีชีวิตและสังคมหรือเหตุการณ์ในสมัยนั้นๆ